หน้าแรก   |   ข่าวสารพยาบาล

การประชุมวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์ ครั้งที่ 1 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ วันที่ 18 - 19 สิงหาคม 2565 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนต์ คอนเวนชั่น

จำนวนผู้เข้าชม : 553 ครั้ง


การประชุมวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์ ครั้งที่ 1วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ "การแพทย์แม่นยำ"วิทยาลัยก้าวหน้าในการดูแลสุขภาพบทบาทพยาบาลและบุคลากรสุขภาพวันที่ 18 - 19 สิงหาคม 2565ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนต์ คอนเวนชั่น


 


 


 


 

            การพัฒนาด้านการแพทย์และพยายาบาลให้มีความก้าวทั้งด้านการศึกษา วิจัย พัฒนา เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่เเหมาะสม เพิ่มพูนความรู้และทักษะให้กับบุคคลากรด้านโรคต่าง ๆ  เช่น เทคโนโลยี่การวินิจฉัยและรักษาโรคอย่างถูกต้องแม่นยำ สามารถช่วยให้มีการวางแผนการรักษาผู้ป่วยในแต่ละรายจำเพาะเจาะจงได้ดียิ่งขึ้น 

คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ในงานสัมนาวิชาการ"การแพทย์แม่นยำ"วิทยาลัยก้าวหน้าในการดูแลสุขภาพบทบาทพยาบาลและบุคลากรสุขภาพ ครั้งนี้ โดยมีศาสตราจารย์ นายแพทย์ นิธิ มหานนท์ เลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์และผู้อำนวยการโรงเรียนพยาบาลจุฬาภรณ์เป็นประธาน  และรองศาสตร์จารย์ ดร.ทัศนา บุญทอง คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ฯ เป็นผู้กล่าวเปิดงานครั้งนี้ว่า "การแพทย์แม่นยำหรือ เวชกรรรมตรงเหตุ (Precision Medicine ) จึงเป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอ่ย่างก้าวกระโดดในการรักษาและประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคโดยการศึกษาถึงกลไกการเกิดโรคในบุคคลระดับยีน การศึกษาข้อมูลพันธุกรรม วิถีชีวิต และปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อวินิจฉัยสาเห่่ตุของการเกิดโรคได้อย่างแม่นยำ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิ์ภาพในการรักษา สามารถเลือกยาหรือวิธีการรัษาได้เหมาะสมกับผู้รับริการ ลดผลข้างเคียงของการใช้ยา ลดค่ารักษาพยาบาล อันเป็นผลมาจากการรักษาพยาบาลที่แม่นยำและตรงจุดกว่าเดิม เกิดประสิทธิภาพในการบำบัดดูแลเพิ่มขึ้น ผลสำเร็จที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือ การรักษาผู้ป่วยกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคที่มีการเสียชีวิตอันดับ 1 ของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิมมาเป็น (Peronalized theraphy in cancer) ประเทศไทยได้กำหนดให้การแพทย์แม่นยำเป็นนโยบายหนึ่งของงานด้านสาธรณะสุขในการขยายการรักษาโดยฝช้หลักการของแพทย์แม่นยำจากโรคมะเร็งสู่การรักษาโรคหลักอื่น ๆ  ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง การติดเชื้อเอชไอวี โรคหัวใจขาดเลือด และโรคเบาหวานซึ่งจะทำให้สามารถประเมินความเสี่ยงต่อการรักษาโรคต่าง ๆ  และการวางแผนการป้องกันด้วยการเปลี่ยวิถีชีวิตประจำวันให้ห่างไกลโรค  กระทรวงสาธารณสุขประมาณการว่าการแพทย์แม่นยำนี่้มีผลการลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้ประมาณ70,000 ล้านบาทต่อปี รวมทั้งจะก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการส่งเสริมอุตสาห์กรรมทางการแพทย์ครบวงจรด้วย แต่อย่างไรก็ตามความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แม่นยำยังไม่แพร่หลายทั้งในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และประชาชน"


 


 


 


 


 


 


 


 


 


 


 

คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ตระหนักถึงควาสำคัญของการพัฒนาพยบาลและบุคลากรทีมสุขภาพ ให้มีความรู็การแพทย์แม่ยำ จึงจัดการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 1 การแพทย์แม่นยำ วิทยาการก้าวหน้าในการดูแลรักษาสุขภาพ:บทบาทพยาบาลและบุคลากรสุขภาพ (Precision Medicine Healthcare Advancement:Roles Nurse and Health Personnel)

ในงานสัมนาครั้งนี้มีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิหลายสาขาทางด้านสาธารณสุขผู้ให้คำบรรยาย  คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ นิธิ มหานนท์, รองศาสตราจารย์ ดร.เรณู พุกบุญมี ,รองศาสตราจารย์ พญ.ทิพยวิมล ทิมอรุณ ,รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ 

 แพทย์หญิงพู่กลิ่น ตรีสุโกศล,ศาสตราจารย์ ดร. นพ. มานพ พิทักษ์ภากร,พว.จันทร์จิรา  ศรีรักษาสินธุ์, พว.ณิชชา ขุนอินทร์, พว.มณฑา แห่งทรัพย์เจริญ , รองศสาตรจารย์ พญ. ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา ,ดร.ทศพร เฟื่องรอด และอาจารย์ วุฒิพงษ์ เชื่อมนอก โดยมีผู้เข้าอบรมพยาบาล บุคลากรทีมสุขภาพและผู้สนใจเข้รับฟังการบรรยาย

Recent Posts